spiritualistlive.com

ดง พญา เย็น ล่าสุด

จุด มุ่งหมาย ใน การ เรียน

August 9, 2022, 3:26 pm
ส-เป-ค-สาย-cv

เพื่อพัฒนามโนภาพเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ เช่น การบวก หรือการเพิ่ม การลดหรือการลบ ฯลฯ 3. เพื่อให้เด็กรู้จักและใช้กระบวนการในการหาคำตอบ เช่น การจดบันทึก การชั่งน้ำหนัก ฯลฯ 4. เพื่อให้เด็กฝึกฝนทักษะคณิตศาสตร์พื้นฐาน เช่น การนับ การวัด การจับคู่ การจัดประเภท การเปรียบเทียบ การลำดับ ฯลฯ 5. เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีความรู้ ความเข้าใจ ความอยากรู้ และอยากค้นคว้าเพิ่มเติม 6. เพื่อส่งเสริมให้เด็กค้นคว้าหาคำตอบด้วยตนเอง

จุดมุ่งหมายของการศึกษา - GotoKnow

โซฟา สวย ๆ pantip

สถานการณ์ที่ครูตั้งขึ้น เพื่อนให้ผู้เรียนแสดงพฤติกรรมออกมา 2. พฤติกรรมของนักเรียนที่ครูคาดหวังให้แสดงออกมา 3. เกณฑ์ของระดับความสามารถของพฤติกรรมที่นักเรียนแสดงออกมา หลักทั่วไปในการเขียนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. เขียนสั้นๆ ให้ได้ใจความ 2. จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมหนึ่งข้อระบุพฤติกรรมที่คาดว่าจะเกิดเพียงหนึ่งพฤติกรรม 3. ต้องพฤติกรรมปลายทางที่คาดว่าจะเกิดขึ้นโดยนักเรียนเท่านั้น 4. พฤติกรรมที่ระบุในจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมต้องเป็นพฤติกรรมที่สังเกตเห็นได้ 5. คำที่ใช้ในการเขียนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมต้องเป็นคำที่มีลักษณะชี้เฉพาะเจาะจง แนวปฏิบัติในการเขียนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. กำหนดจุดประสงค์ในการเรียนโดยทั่วไปก่อน 2. กำหนดพฤติกรรมที่คาดหวังว่า ผู้เรียนจะแสดงออกหลังจากเกิดการเรียน กำหนดสถานการณ์หรือเงื่อนไข 1. สถานการณ์ที่เป็นเนื้อหา 2. สถานการณ์ที่เป็นสิ่งเร้า 3. สถานการณ์ที่เป็นเงื่อนไข กำหนดเกณฑ์ เกณฑ์เป็นส่วนที่ระบุถึงระดับความสามารถของพฤติกรรมที่แสดงออกของนักเรียนในขั้นต่ำสุดที่ครูจะยอมรับได้ว่า นักเรียนเกิดการเรียนรู้จริง การกำหนดเกณฑ์ของพฤติกรรมที่คาดหวังสามารถทำได้ 2 แบบ ดังนี้ 1. กำหนดเกณฑ์เป็นปริมาณ 2.

คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย โดยอรอนงค์ ยกสกูล: จุดมุ่งหมาย

การเลียนแบบ เป็นการทำตามตัวอย่างที่ครูให้ 2. การทำตามคำบอก เป็นการทำตามคำสั่งของครูโดยไม่มีตัวอย่างให้เห็น 3. การทำอย่างถูกต้องและเหมาะสม เป็นการทำโดยนักเรียนอาศัยความรู้ที่เคยทำมาก่อนแล้วเพิ่มเติม 4. การทำได้ถูกต้องหลายรูปแบบ เป็นการทำในเรื่องที่คล้ายๆกัน และแยกรูปแบบได้ 5. การทำได้อย่างเป็นธรรมชาติ เป็นการที่ทำเกิดจากความรู้ ความชำนาญ และเสร็จได้ในเวลารวดเร็ว จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม การกำหนดจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมที่ชัดเจนทำให้ครูสามารถ -หาวิธีการสอนได้อย่างเหมาะสม -เลือกสื่อการเรียนการสอนได้สอดคล้องกับเนื้อหาสาระที่จะเรียน -จัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้เหมาะสม -เตรียมการวัดผลและประเมินผลได้เหมาะสม -ทำให้การสอนบรรลุจุดประสงค์ที่ตั้งไว้ ความหมาย จุดประสงค์เชิงพฤตกรรมเป็นจุดประสงค์การศึกษาที่บ่งบอกถึงการกระทำของนักเรียนอย่างชัดเจนว่านักเรียนสามารถทำอะไรได้บ้าง องค์ประกอบ 1. สถานการณ์ที่ครูตั้งขึ้น เพื่อให้นักเรียนแสดงพฤติกรรมออกมา มักใช้คำว่า กำหนดให้…., ภายหลังจากที่….., ถ้ามี….., เมื่อ… 2. พฤติกรรมของนักเรียนที่ครูคาดหวังให้แสดงออกมา ได้แก่ อธิบาย บรรยาย บอก วาด เขียน ชี้ คำนวณ ตอบ ท่อง เปรียบเทียบ ฯลฯ 3.

จุดมุ่งหมายของการวิจัย - GotoKnow

สถานการณ์ที่ครูตั้งขึ้น เพื่อให้นักเรียนแสดงพฤติกรรมออกมา มักใช้คำว่า กำหนดให้…., ภายหลังจากที่….., ถ้ามี….., เมื่อ… 2. พฤติกรรมของนักเรียนที่ครูคาดหวังให้แสดงออกมา ซึ่งเป็นพฤติกรรมที่สามารถสังเกตได้ ได้แก่ อธิบาย บรรยาย บอก วาด เขียน ชี้ คำนวณ ตอบ ท่อง เปรียบเทียบ สร้าง รายงาน ฯลฯ คำที่ไม่ควรใช้ในจุดประสงค์เชิงพฤตกรรม ได้แก่ รู้เข้าใจ วาบซึ้ง ตระหนัก จินตนาการฯลฯ 3. เกณฑ์ระดับความสามารถของพฤติกรรมที่นักเรียนแสดงออก มักใช้คำว่า ได้ ถูกต้อง ถูกหมด ได้ทุกข้อ ตัวอย่างจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. เมื่อกำหนดโจทย์เลขเศษส่วนให้ 10 ข้อ นักเรียนสามารถทำได้ถูกต้องอย่างน้อย 8 ข้อ 2. เมื่อนำแผนมาให้นักเรียนดู นักเรียนสามารถบอกชื่อเครื่องหมายในแผนที่ได้อย่างน้อย 5 ชื่อ 3. เมื่อนำชื่อสัตว์ต่างๆมาติดบนกระดานดำ นักเรียนสามารถแยกชื่อสัตว์ที่เลี้ยงไว้ใช้งานได้ถูกต้อง 4. จากการสังเกตจากดวงอาทิตย์ นักเรียนสามารถชี้ทิศทั้งสี่ทิศได้

จุดมุ่งหมายในการเรียน
  1. จุดมุ่งหมายของการนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียน - การพัฒนาครูด้วยหลักสูตรการอบรมออนไลน์ หัวข้อเรื่อง การนิเทศภายในโรงเรียน
  2. ราคา all new r15 roblox
  3. จุดมุ่งหมายในการเรียน
  4. กาวติดโฟม EP9000 ~ 2000Progress Co., Ltd. - YouTube
  5. กระทะย่างเนย 19ซม.เคลือบเทปล่อน สำหรับเตาฮิดะ - #2600039 - แหล่งซื้อขายสินค้าราคาถูก ลดพิเศษ! - Plazacool เปิดร้านค้าออนไลน์ ใครๆก็มีเว็บไซต์ขายของได้ง่ายๆ
  6. แฟชั่น สร้อย คอ
พฤติกรรมการเรียนรู้ตามจุดมุ่งหมายของนักการศึกษาซึ่งกำหนดโดย บลูม และคณะ ( Bloom and Others) มุ่งพัฒนาผู้เรียนใน 3 ด้าน ดังนี้ 1. ด้านพุทธิพิสัย ( Cognitive Domain) คือ ผลของการเรียนรู้ที่เป็นความสามารถทางสมอง ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท ความจำ ความเข้าใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์และประเมินผล 2. ด้านเจตพิสัย ( Affective Domain) คือ ผลของการเรียนรู้ที่เปลี่ยนแปลงด้านความรู้สึก ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท ความรู้สึก ความสนใจ ทัศนคติ การประเมินค่าและค่านิยม 3.