spiritualistlive.com

ดง พญา เย็น ล่าสุด

สร้อย สังวาล ย์ เงิน

August 1, 2022, 4:10 am
เชคสทธ-เรารกกน-ม33
เครื่องประดับร่างกาย 1. ตุ้มหู การเจาะหูนั้นภาษาล้านนา เรียกว่า บ่องหู ชาวไทใหญ่ เรียกว่า ปี่หู ส่วนตุ้มหูของชาวไทยวนมีลักษณะต่างๆ กันไป เช่น 'ด็อกหู' ซึ่งสันนิษฐานว่าอาจเป็นคำๆ เดียวกับ 'ดอกหู' ซึ่งอาจหมายถึงการเอาดอกไม้มาเสียบไว้ที่ติ่งหูก็เป็นได้ จะมีลักษณะ เป็นตุ่มกลมๆ 'ลานหู' มีลักษณะเป็นแผ่นใบลาน แผ่นเงิน หรือทองคำ นำมาม้วนแล้วใส่เข้าไป เพื่อให้รูที่เจาะไว้ขยายกว้างออก เรียกว่า 'ควากหู' นอกจากนั้นยังมีคำต่างๆ ที่ใช้เรียกตุ้มหูอีกหลายคำ เช่น ท่อต๊าง ท่อต๊างลานหู หน้าต้าง หละกั๊ด เป็นต้น 2.

อับเดต ราคาเม็ดเงินวันนี้ ราคาเนื้อเงินประจำสัปดาห์ สร้อยสังวาลสวย!!ราคาเงินเม็ด Silver|MamaTu - YouTube

  • โปร guns of boom download
  • สร้อย สังวาล ย์ เงิน เยียวยา
  • อับเดต ราคาเม็ดเงินวันนี้ ราคาเนื้อเงินประจำสัปดาห์ สร้อยสังวาลสวย!!ราคาเงินเม็ด Silver|MamaTu - YouTube
  • การแต่งกาย | tanawatpotichat
สร้อย สังวาล ย์ เงิน usd

เยียวยา

พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของเครื่องประดับไทย เครื่องประดับไทยมีพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ที่ยาวนานแบ่งออกเป็น ๓ สมัย คือ สมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา และสมัยรัตนโกสินทร์ สมัยสุโขทัย สมัยนี้มีช่วงเวลาประมาณเกือบ ๒๐๐ ปี นับตั้งแต่ พ. ศ. ๑๗๙๒ เมื่อพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ทรงขึ้นครองราชย์เป็นกษัตริย์ที่กรุงสุโขทัย จนถึงสิ้นรัชกาลพระมหาธรรมราชาที่ ๔ (บรมปาล) ใน พ. ๑๙๘๑ สมัยสุโขทัยมีหลักฐานเกี่ยวกับเครื่องประดับไทยไม่มากนัก ส่วนใหญ่ศึกษาจากศิลปวัตถุและภาพจิตรกรรมที่ยังหลงเหลืออยู่ ในโบราณสถานบางแห่ง ซึ่งพออนุมานได้ว่า เครื่องประดับในสมัยสุโขทัยมีที่มาจากศิลปะของชนพื้นเมืองที่เป็นคนไทย ผสมผสานกับศิลปะขอมสมัยอาณาจักรลวปุระหรือละโว้ และศิลปะมอญสมัยอาณาจักรทวารวดี ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากอินเดียอีกทอดหนึ่ง เช่นเดียวกับอาณาจักรโบราณที่เคยมีมาก่อนหน้านี้แล้ว คือ อาณาจักรฟูนัน และอาณาจักรศรีวิชัย ทางภาคตะวันออกและภาคใต้ ของคาบสมุทรอินโดจีน ตามลำดับ ดังนั้น อาจสรุปลักษณะของเครื่องประดับไทย ในสมัยสุโขทัยได้อย่างคร่าวๆ เป็น ๓ รูปแบบ ดังนี้ ก. เครื่องประดับของเทวรูป ศาสนาพราหมณ์มีอิทธิพลอยู่มากในราชสำนักพอๆ กับพระพุทธศาสนา ดังนั้น การสร้างเทวรูปในศาสนาพราหมณ์ จึงมีการประดับตกแต่งอย่างเต็มที่ อาทิ มงกุฎ เทริด กรองศอหรือสร้อยคอ ที่ทำเป็นรูปแบบเรียบง่ายในระยะแรก ต่อมา มีการตกแต่งลวดลายให้วิจิตรงดงามมากขึ้น นอกจากนี้ก็มีพาหุรัด หรือกำไลต้นแขนที่เลียนแบบมาจากกรองศอ และมีกุณฑล หรือตุ้มหู ที่ทำเป็นแบบลูกตุ้ม ถ่วงไว้ที่ปลายใบหู เทวรูปสำริด พระอิศวร สมัยสุโขทัย ต้นพุทธศตวรรษที่ ๒๐ ที่วัดป่ามะม่วง มีเครื่องทรง ได้แก่ มงกุฏ กรองศอ สังวาล และพาหุรัด ข.

กระดุม ภาษาพื้นเมืองเรียก 'บ่าต่อม' น่าจะใช้กันอย่างแพร่หลายในช่วงต้นรัตนโกสินทร์ เพราะเมื่อสังเกตจากภาพจิตร กรรมฝาผนังในล้านนา ก็จะเห็นแต่ผู้ชายที่ใส่เสื้อแบบฝรั่งเท่านั้นที่ติดกระดุม กระดุมมีหลายประเภทและใช้วัสดุแตกต่างกันไป เช่น ลักษณะกระดุมที่เป็นเชือกถักขอดเป็นปม น่าจะได้รับอิทธิพลมาจากจีน ส่วนเสื้อของไทใหญ่ไทลื้อจะเป็นกระดุมห่วงที่สามารถถอดไป ใช้กับเสื้อตัวอื่นได้ โดยกระดุมเหล่านี้มีทั้งทำมาจากทองคำ นาก เงิน อัญมณี แก้ว เป็นต้น 4. เข็มขัด ภาษาล้านนาเรียกว่า 'สายฮั้งปอบแอว' ส่วนชาวจังหวัดน่านเรียกว่า 'แบ้ว' สันนิษฐานว่าเพี้ยนมาจากคำว่า 'BELT' ส่วนชาวลำปางเรียกว่า 'ต้าย' เป็นทั้งเครื่องใช้และของประดับ ควบคู่ไปกับผ้าซิ่นและเตี่ยวสะดอ แต่ถ้าสังเกตจากภาพ จิตรกรรมฝาผนัง ภาพของทั้งบุรุษและสตรีล้วนแต่ไม่ใช้เข็มขัด แต่จะใช้วิธีทบและขมวดปมผ้าซิ่นหรือกางเกงแทน 5. กำไล ภาษาล้านนาเรียกกำไลว่า 'ขอแขน ว้องแขน ขะแป่ง' ชาวไทลื้อเชียงคำ เรียกกำไลว่า 'กอกไม้' ส่วนชาวไทใหญ่ เรียกว่า 'แหวนมือ' โดยลักษณะของกำไลนั้นมีหลายแบบ เช่น กำไลวง คือ กำไลที่มีลักษณะเป็นวงกลมธรรมดา กำไลเกลียว มีลักษณะเป็นเกลียวเดียวหรือหลายเกลียวเรียงกัน ส่วนกำไลข้อเท้า จะเรียกว่า 'ขอแฅ่ง หรือ ว้องแฅ่ง' 6.

พระยอดขุนพล ลพบุรี – พระเครื่อง & เครื่องลางของขลัง – Guestpost สาระดีๆ มีมาแบ่งปันกัน

สร้อย สังวาล ย์ เงิน png

เครื่องประดับของสามัญชน บุคคลที่เป็นสามัญชน ได้แก่ พ่อค้า ชาวบ้าน หลักฐานการใช้เครื่องประดับที่พบมีเพียงแค่ต่างหู เช่น บนจิตรกรรมฝาผนัง ที่วัดศรีชุม จังหวัดสุโขทัย ภาพจิตรกรรมฝาผนัง ที่วัดศรีชุม จ. สุโขทัย แสดงให้เห็นเครื่องประดับของชนชั้นสูงในสมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา เป็นสมัยที่มีช่วงเวลายาวนานถึง ๔๑๗ ปี เริ่มตั้งแต่เมื่อสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ (พระเจ้าอู่ทอง) ทรงขึ้นครองราชย์ใน พ. ๑๘๙๓ จนถึงเสียกรุงครั้งที่ ๒ ใน พ. ๒๓๑๐ หลักฐานที่เกี่ยวกับพัฒนาการของเครื่องประดับในสมัยอยุธยาปรากฏอยู่มากทั้งที่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น กฎหมายตราสามดวง กฎมณเฑียรบาล จดหมายเหตุและบันทึกของชาวต่างชาติที่ได้เข้ามาติดต่อค้าขาย หรือเจริญสัมพันธไมตรี ตลอดจนโบราณวัตถุ จิตรกรรม และประติมากรรมในสมัยนั้น จึงทำให้ทราบรายละเอียดเกี่ยวกับเครื่องประดับไทยในสมัยอยุธยาได้ค่อนข้างมาก เครื่องประดับสมัยอยุธยาอาจแบ่งได้เป็น ๒ ประเภทใหญ่ๆ คือ เครื่องประดับสำหรับกษัตริย์ มเหสี พระราชวงศ์ และขุนนาง ในราชสำนัก ประเภทหนึ่ง และอีกประเภทหนึ่ง คือ เครื่องประดับสำหรับบุคคลทั่วไป ก.